รายงานการสื่อสารและการนำเสนอ
เรื่อง การขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
ของ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5
นางสาว อุไรพร กุลโชติ เลขที่ 20
นางสาว ธนิดา แสนสุภา เลขที่ 21
นางสาว กนกธร ไชยพันโท เลขที่ 23
นางสาว กัลย์ทิมา เหล่ามา เลขที่ 25
นางสาว อนุพร โจระสา เลขที่ 38
ที่ปรึกษา
คุณครู นารีรัตน์ แก้วประชุม
วันที่ 11 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2557
เสนอ
โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร
อำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ ตามหลังสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
สืืบพันธุ์ กุ๊กไก่อยากให้เพื่อนๆ ศึกษาถึง
ส่วนประกอบของดอกไม้ ต่อไปนี้
ส่วนที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชแบบอาศัยเพศ
ดอกไม้ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ เรียงจากชั้นนอกเข้าสู่ชั้นในที่สำคัญๆ
4 ส่วนได้แก่
กลีบเลี้ยง (speal) ส่วนนี้จะอยู่นอกสุด โดยเปลี่ยนแปลงเจริญมาจากใบ มีขนาดเล็กมีสีเขียว ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ดอกไม้ขณะตูม
กลีบดอกไม้ (Petal) ส่วนนี้อยู่ถัดจากกลีบเลี้ยงเข้าไป มีขนาดใหญ่กว่า
กลีบเลี้ยง ซึ่งมีสีสันสวยงาม มีกลิ่นหอม ทำหน้าที่ล่อแมลงเพื่อช่วยผสมเกสร
เกสรตัวผู้ (Stamen) ส่วนนี้อยู่ถัดจากกลีบดอกเข้าไป ทำหน้าที่เป็น
เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ มักมีหลายอันรวมกัน มีส่วนประกอบที่สำคัญอยู่คือ
1. ก้านชูอับเรณู มีลักษณะแท่งยาวทรงกระบอก มีหน้าที่ชูอับละอองเรณู
2. อับเรณู เป็นเม็ดเล็กๆ อยู่บนก้านชูอับเรณู ภายในอับเรณูจะมีละออง
เรณูอยู่มากมาย มีลักษณะเป็นเม็ดเล็กๆ คล้ายผงสีเหลือง
3. ละอองเรณู อยู่ภายในอับเรณู ทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
เกสรตัวเมีย (Pistill) ส่วนนี้อยู่ชั้นในสุด ทำหน้าที่เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ
1. ยอดเกสรตัวเมีย ส่วนนี้จะมีขนเส้นเล็กๆ และมีน้ำหวานเหนียว ๆ สำหรับดักจับละอองเรณู รวมทั้งยังใช้เป็นอาหารสำหรับการงอกของหลอดละอองเรณู
2. ก้านเกสรตัวเมีย ส่วนนี้จะทำหน้าที่ชูยอดเกสรตัวเมียให้อยู่ในระดับสูงๆ
เพื่อประโยชน์ในการผสมพันธุ์ นอกจากนี้ยังเป็นทางให้ละอองเรณูแทงหลอดเรณู
ลงไปเพื่อให้เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้เข้าผสมกับเซลล์ไข่ได้
3. รังไข่ ส่วนนี้มีออวุล ซึ่งมีลักษณะเป็นเม็ดเล็ก ๆ บรรจุอยู่ภายใน
รังไข่หนึ่งอาจมี 1 ออวุล หรือหลายออวุล ก็ได้ ภายในออวุี่ลเป็นแหล่งสร้าง
เซลล์ไข่ซึ่งทำหน้าที่เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
เมื่อละอองเรณูตกลงบนยอดเกสรตัวเมียแล้วจะเกิดการงอกเป็นหลอด แทง ผ่านยอดและก้านเกสรเพศเมียจนกระทั่งถึงรังไข่ ดังในภาพ ภายในหลอดนี้จะมีี้ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ซึ่งจะเข้าไปผสมกับเซลล์ไข่ภายในออวุล เรียกกระบวนการ
นี้ว่า การปฏิสนธิ ต่อจากนั้นออวุลจะเจริญเป็น เมล็ด ซึ่งภายในจะมี ต้นอ่อน
หรือ เอ็มบริโอ และอาหารเลี้ยงเอ็มบริโอจะอยู่ภายในเมล็ด ส่วน รังไข่ จะ
เจริญเป็น ผล โดยทั่วไปแล้ว หลังจากการปฏิสนธิ ส่วนอื่นๆของดอกไม้ เช่น
กลีบดอก เกสรเพศผู้ ยอดเกสรเพศเมียจะเหี่ยวและหลุดร่วงไปในที่สุด
ปัจจัยในการงอกของเมล็ด
1. น้ำ เมื่อเมล็ดถูกน้ำ น้ำจะผ่านเปลือกนอกของเมล็ดเข้าไปทำให้
ต้นอ่อนเจริญเติบโต รากของเมล็ดจะแทงออกมาได้ง่าย จากนั้นเมล็ดจะเริ่ม
พองตัวและมีแรงดันภายในมากขึ้นนจนทำให้เปลือกเมล็ดแตกออก ต้นอ่อน
ก็จะเจริญออกมานอกเมล็ด
2. แก๊สออกซิเจน ขณะที่เมล็ดเริ่มงอกจะต้องการออกซิเจนใน
ปริมาณมากเพื่อนำไปใช้ในกระบวนการหายใจ และสร้างพลังงานมาใช้
ในการเจริญเติบโตของต้นอ่อน
3. อุณหภูมิที่เหมาะสม เมล็ดจะเจริญงอกงามได้ดีในที่ที่มีอุณหภูมิ
ประมาณ 20-30 องศาเซลเซียส ทั้งนี้เพราะอุณหภูมิที่เหมาะนี้จะช่วยทำให้
เอนไซม์ย่อยอาหารในเอนโดสเปริม์ได้อย่างเต็มที่
4. อาหาร แหล่งอาหารของเมล็ดที่งอกใหม่ๆ จะอยู่ที่เอนโดสเปิร์ม
หรือใบเลี้ยง
คำนำ
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการศึกษาค้นคว้า เพื่อให้ประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจจะได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่อง “การขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ"ใจได้ศึกษาหาความรู้หรือใช้เป็นเอกสารเพิ่มเติมต่อไป
คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการทาบกิ่ง การตอนกิ่ง ซึ่งทำให้ทราบถึง เนื้อหาหลักๆ ของการทาบกิ่งมะนาว และเป็นงานที่เกี่ยวกับการทดลองที่ได้วิเคราะห์ให้ผู้อ่านนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป หากมีข้อบกพร่องประการใด ผู้จัดทำขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทำ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5
11 สิงหาคม 2557
กิตติกรรมประกาศ
รายงานฉบับนี้สำเร็จและสมบูรณ์เป็นรูปเล่ม ด้วยความกรุณาและเอาใจใส่เป็นอย่างดีคณะผู้จัดทำขอขอบคุณ คุณครู นารีรัตน์ แก้วประชุม และคณะครูกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ที่คอยให้คำปรึกษาและแนะนำข้อมูลต่างๆ ช่วยให้คณะผู้จัดทำทำงานลุล่วง เรียบร้อย สำเร็จไปด้วยดี รวมทั้งเพื่อนๆ ที่ค่อยให้คำปรึกษา ทำให้การดำเนินการรายงานในครั้งนี้ไม่มีข้อบกพร่อง รวมทั้งข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นต่างๆ
ทางคณะผู้จัดทำจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ผู้จัดทำ
นางสาว กนกธร ไชยพันโท
และคณะ
ชื่อเรื่อง การขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
ผู้ศึกษา นางสาว อุไรพร กุลโชติ
นางสาว ธนิดา แสนสุภา
นางสาว กนกธร ไชยพันโท
นางสาว กัลย์ทิมา เหล่ามา
นางสาว อนุพร โจระสา
ครูที่ปรึกษา คุณครู นารีรัตน์ แก้วประชุม
ชื่อวิชา การสื่อสารและการนำเสนอ
ชื่อโรงเรียน โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร ปีการศึกษา ที่ศึกษาค้นคว้า 2557
บทคัดย่อ
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง การขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาที่มาของการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ 2) เพื่อศึกษาประวัติของการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัเพศอย่างถูกวิธี 3)การขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศมีกี่วิธี
ผลการศึกษาปรากฏว่า
1. ประโยชน์ของการทาบกิ่ง
1.1 เป็นการขยายพันธุ์ของต้นพืชพันธุ์ดีให้มากขึ้น โดยทำให้เจริญเติบโตได้ดีบนต้นตอที่แข็งแรง
1.2 ทำให้ได้ต้นพืชพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตรวดเร็ว หลังจากทาบกิ่งและนำไปปลูกในเวลาไม่นาน
1.3 ทำให้ได้ต้นพันธุ์ดีที่แข็งแรงทนทานต่อการหักโค่นเนื่องจากลมเพราะมีรากแก้วของต้นตอ
ช่วยค้ำจุน
1.4 ทำให้พืชบางชนิดที่ขยายพันธุ์ได้ยาก สามารถดำรงพันธุ์ไว้ได้
1.2 ทำให้ได้ต้นพืชพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตรวดเร็ว หลังจากทาบกิ่งและนำไปปลูกในเวลาไม่นาน
1.3 ทำให้ได้ต้นพันธุ์ดีที่แข็งแรงทนทานต่อการหักโค่นเนื่องจากลมเพราะมีรากแก้วของต้นตอ
ช่วยค้ำจุน
1.4 ทำให้พืชบางชนิดที่ขยายพันธุ์ได้ยาก สามารถดำรงพันธุ์ไว้ได้
1.2 การทาบกิ่ง คือ การนำต้นพืช 2 ต้น ซึ่งเป็นต้นชนิดเดียวกันและมีระบบรากมาเชื่อมต่อกิ่งกันโดยต้นตอที่นำมาทาบกิ่ง จะทำหน้าทีเป็นระบบรากอาหารให้กับต้นพันธุ์ดี เมื่อเกิดการประสานของตัวกิ่งทั้งสองแล้ว จึงตัดกิ่งพันธุ์ดีออก เหลือเป็นต้นตอของพันธุ์หนึ่ง และยอดพันธุ์ดีเป็นของอีกพันธุ์หนึ่งพืชที่นิยมขยายพันธุ์ด้วยการทาบกิ่งเช่น มะขาม มะนาว มะม่วง ทุเรียน ขนุน เงาะ ลำไย
2. การทาบกิ่งมีกี่ประเภท การทาบกิ่งแบบประกบ มี 3 แบบคือ
2.1 วิธีทาบกิ่งแบบฝานบวบ
2.2 วิธีการทาบกิ่งแบบเข้าลิ้น
2.3 วิธีทาบกิ่งแบบพาดร่อง
3.ความหมายของการทาบกิ่ง
การทาบกิ่งหมายถึงการนำต้นไม้ 2 ต้นที่ต่างก็มีรากของตนเองมาทาบกันโดยต่อเข้าด้วยกัน
และเมื่อแผลเชื่อมกันสนิทดีแล้วจึงตัดยอดของต้นตอ(stock) และตัดโคนของต้นพันธุ์ดี(scion)
ออก ส่วนใหญ่การทาบกิ่งจะใช้ต้นตอที่เพาะจากเมล็ดใส่ถุงพลาสติกขึ้นไปทาบกิ่งของต้นพันธุ์
ดีที่ปลูกไว้ก่อนจนมีกิ่งก้านพอที่จะทาบได้จำนวนมาก การทาบกิ่งทำได้ทุกฤดู แต่แผลจะเชื่อมติด
กันได้เร็วในฤดูที่ต้นไม้กำลังเติบโต(ฤดูฝน) หลังจากทาบกิ่งแล้วต้องใช้ผ้าพลาสติกพันแผลหรือ
ใช้ขี้ผึ้งทาให้รอบแผล
และเมื่อแผลเชื่อมกันสนิทดีแล้วจึงตัดยอดของต้นตอ(stock) และตัดโคนของต้นพันธุ์ดี(scion)
ออก ส่วนใหญ่การทาบกิ่งจะใช้ต้นตอที่เพาะจากเมล็ดใส่ถุงพลาสติกขึ้นไปทาบกิ่งของต้นพันธุ์
ดีที่ปลูกไว้ก่อนจนมีกิ่งก้านพอที่จะทาบได้จำนวนมาก การทาบกิ่งทำได้ทุกฤดู แต่แผลจะเชื่อมติด
กันได้เร็วในฤดูที่ต้นไม้กำลังเติบโต(ฤดูฝน) หลังจากทาบกิ่งแล้วต้องใช้ผ้าพลาสติกพันแผลหรือ
ใช้ขี้ผึ้งทาให้รอบแผล
บทที่ 1
ความเป็นมาและความสำคัญของเนื้อหา
ที่มาและความสำคัญของปัญหา
ในชีวิตประจำวันของเราต้นกระสังนับว่าเป็นพืชที่ให้ประโยชน์ทั้งคนและสัตว์สามารถนำมา
ทำประกอบอาหารและผลของกระสังยังสามารถนำมาทำเป็นปุ๋ยหมักชีวภาพได้ด้วยกลุ่มของเราผู้จัดทำจึงคิดว่า จะนำไปใช้ในการปลูกพืชแบบประหยัดพื้นที่จึงได้จัดทำโครงงานนี้ขึ้น
มะนาวนั้นสามารถที่จะช่วยระบบการย่อยอาหารและยังช่วยสกัดสารพิษ ออกจากร่างกายได้ด้วย พวกเราหลายๆคน ที่ปมีปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักตัวที่มากเกินความต้องการ โดยสาเหตุหนึ่งที่สำคัญของปัญหานี้ ก็คือ ระบบการย่อยอาหาร ที่ไม่ทำงานอย่างปกติ ทำให้ร่างกายของเรา ไม่สามารถรับสารอาหาร ที่จำเป็นในการเผาผลาญไขมัน ทำให้เกิดมีสารพิษที่ตกค้างอยู่ในร่างกายของเรา ซึ่งกำจัดออกไปจากร่างกายได้ยาก แต่ มะนาว นั้นสามารถที่จะช่วยแก้ปัญหานี้ได้ เนี่องจาก ผลมะนาว นั้นอุดมไปด้วยกรดไซตริก ซึ่งเป็น AHA ชนิดหนึ่ง ซึ่งสูงกว่าผลไม้ชนิดอื่นทุกๆ ประเภท หากเรานำ น้ำมะนาวมาผสม ร่วมกับโปรตีน และกรดอื่นๆ แล้วละก็จะยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพในการ ช่วยกระตุ้น น้ำย่อยในกระเพาะให้ทำงานได้ดียิ่งขึ้น ขั้นตอนและวิธีการ ใช้มะนาวในการ ช่วยระบบการย่อยอาหาร
ความหมายของการทาบกิ่ง
การทาบกิ่งหมายถึงการนำต้นไม้ 2 ต้นที่ต่างก็มีรากของตนเองมาทาบกันโดยต่อเข้าด้วยกันและเมื่อแผลเชื่อมกันสนิทดีแล้วจึงตัดยอดของต้นตอ(stock) และตัดโคนของต้นพันธุ์ดี(scion) ออก ส่วนใหญ่การทาบกิ่งจะใช้ต้นตอที่เพาะจากเมล็ดใส่ถุงพลาสติกขึ้นไปทาบกิ่งของต้นพันธุ์ ดีที่ปลูกไว้ก่อนจนมีกิ่งก้านพอที่จะทาบได้จำนวนมาก การทาบกิ่งทำได้ทุกฤดู แต่แผลจะเชื่อมติด กันได้เร็วในฤดูที่ต้นไม้กำลังเติบโต(ฤดูฝน) หลังจากทาบกิ่งแล้วต้องใช้ผ้าพลาสติกพันแผลหรือ ใช้ขี้ผึ้งทาให้รอบแผล แนวคิดแบบตะวันตก
เมื่อมีการพัฒนาด้านการศึกษา และการพิมพ์ วรรณกรรมตะวันตก ทั้งที่เป็นแนววิชาการ และบันเทิง จึงได้แพร่หลายเข้ามาสู่สังคมไทย และมีอิทธิพลต่อการสร้างแนวคิด และสำนึกของไทย เช่น แนวคิดเกี่ยวกับการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย การเข้าใจถึงคุณค่าของมนุษย์ และความทัดเทียมกัน แนวคิดต่างๆ เหล่านี้ ได้สะท้อนออกมาในรูปของวรรณกรรม ที่ตีพิมพ์ในภาษาไทย เช่น งานเขียนของเทียนวรรณ ดอกไม้สด ศรีบูรพา และมาลัย ชูพินิจ
วัตถุประสงค์ของปัญหา
1. เพื่อศึกษาที่มาของการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
2. เพื่อศึกษาประวัติของการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
3. เพื่อศึกษาการขยายพันธุ์พืชอย่างถูกต้อง
4. เพื่อศึกษาประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
สมมุติฐาน
ศึกษาการทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสังได้จริงหรือไม่
ขอบเขตของปัญหา
เนื้อหา
-ที่มาของการทาบกิ่ง
-ประวัติของการทาบกิ่ง
-ประโยชน์ของการทาบกิ่ง
ระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ตัวแปรที่ใช้ในการค้นคว้า
ตัวแปรต้น
การทาบกิ่งจะสามารถทำแล้วได้ผลหรือไม่
ตัวแปรตาม
การทาบกิ่งสามารถทำแล้วได้ผลจริง
นิยามศัพท์เฉพาะ
การทาบกิ่ง คือ การนำต้นไม้ 2 ต้นที่ต่างก็มีรากของตนเองมาทาบกันโดยต่อเข้าด้วยกัน และเมื่อแผลเชื่อมกันสนิทดีแล้วจึงตัดยอดของต้นตอ(stock) และตัดโคนของต้นพันธุ์ดี(scion) ออก ส่วนใหญ่การทาบกิ่งจะใช้ต้นตอที่เพาะจากเมล็ดใส่ถุงพลาสติกขึ้นไปทาบกิ่งของต้นพันธุ์ ดีที่ปลูกไว้ก่อนจนมีกิ่งก้านพอที่จะทาบได้จำนวนมาก การทาบกิ่งทำได้ทุกฤดู แต่แผลจะเชื่อมติด กันได้เร็วในฤดูที่ต้นไม้กำลังเติบโต(ฤดูฝน) หลังจากทาบกิ่งแล้วต้องใช้ผ้าพลาสติกพันแผลหรือ ใช้ขี้ผึ้งทาให้รอบแผล
การขยายพันธุ์พืช คือ วิธีการที่ทำให้เกิดการเพิ่มปริมาณของต้นพืชให้มากขึ้นเพื่อดำรงสายพันธุ์พืชชนิดต่างๆไว้ไม่ให้สูญพันธุ์
การตอนกิ่ง คือ การทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มีลักษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ
ประโยชน์ที่คาดว่าน่าจะได้รับจากโครงงาน
-เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจเกี่ยวกับดารขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
-เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้จักประโยชน์ในการขยยพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
-เพื่อทราบถึงความสำคัญของการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เรื่อง การขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
มีหัวข้อและรายละเอียดดังนี้
1. ความหมายของการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
2. ประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
3. การขยายพันธุ์พืชมีกี่แบบ
4. วิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศอย่างถูกวิธี
5. ข้อมูลเพิ่มเติม (อื่นๆ)
การขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
การขยายพันธุ์พืช คือการเพิ่มจำนวนต้นพืชให้ได้จำนวนมากพอกับ
ปริมาณความต้องการที่เพิ่มขึ้น โดยพืชต้นใหม่ที่ได้ยังคงลักษณะของพันธุ์ และคุณสมบัติที่ดีไว้เหมือนเดิม อาจกล่าวได้ว่า การขยายพันธุ์พืชเป็นการช่วย
รักษาลักษณะที่ดีของพันธุ์ไว้ไม่ให้สูญหาย
การขยายพันธุ์พืชมี 2 แบบ คือ
1. แบบไม่อาศัยเพศ
2.แบบอาศัยเพศ
ปริมาณความต้องการที่เพิ่มขึ้น โดยพืชต้นใหม่ที่ได้ยังคงลักษณะของพันธุ์ และคุณสมบัติที่ดีไว้เหมือนเดิม อาจกล่าวได้ว่า การขยายพันธุ์พืชเป็นการช่วย
รักษาลักษณะที่ดีของพันธุ์ไว้ไม่ให้สูญหาย
การขยายพันธุ์พืชมี 2 แบบ คือ
1. แบบไม่อาศัยเพศ
2.แบบอาศัยเพศ
การขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เป็นวิธีการนำเอาส่วนต่างๆ ของพืชเช่น
ลำต้นใต้ดินของข่า ไหลของใบบัวบก รากของกระชาย ใบของเศรษฐีเงินหมื่น นอกจากนี้ยังมีการขยายพันธุ์พืชโดยการ การตอน การปักชำ การติดตา
การต่อกิ่ง การทาบกิ่ง วิธีการดังกล่าวเป็นการดำรงลักษณะที่ดีของพืชนั้นไว้
ลำต้นใต้ดินของข่า ไหลของใบบัวบก รากของกระชาย ใบของเศรษฐีเงินหมื่น นอกจากนี้ยังมีการขยายพันธุ์พืชโดยการ การตอน การปักชำ การติดตา
การต่อกิ่ง การทาบกิ่ง วิธีการดังกล่าวเป็นการดำรงลักษณะที่ดีของพืชนั้นไว้
การตอน เป็นวิธีการขยายพันธุืพืชโดยใช้กิ่งของพืช ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกกิ่งที่สมบูรณ์ไม่อ่อนแอและไม่แก่เกินไป ใบงาม ไม่มีโรค
หรือแมลงทำลาย ได้รับแสงแดดสม่ำเสมอ
2. ควั่นกิ่งระหว่างข้อ เพื่อตัดท่อลำเลียงอาหาร ทำให้อาหารเลี้ยงเฉพาะ
กิ่งที่ตอน และเกิดรากบริเวณรอยควั่น
3. ทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณรอยควั่น
4. หุ้มกิ่งตอนด้วยดินและวัสดุที่เก็บควรชุ่มชื้นได้ดี เช่น กาบมะพร้าว
ผ้ากระสอบ ป่าน รากผักตบชวา พันหรือหุ้มกิ่งให้แน่นพอสมควร อย่าให้หมุน
ไปมาได้ง่าย พยายามให้กลางกระเปาะวัสดุที่หุ้มอยู่ตรงบริเวณที่จะออกรากด้วย
5. รักษาความชุ่มชื้นอยู่เสมอ โดยการฉีกน้ำเข้าไปในกระเปาะที่หุ้ม
กระเปาะประมาณ 5-7 ครั้ง / วัน
6. ตัดกิ่งตอนปลูกในกระถาง เลี้ยงไว้จนกระทั่งเห็นว่ากิ่งตอนแข็งแรง
จึงนำไปปลูกในบริเวณที่กำหนด
พืชที่นิยมใช้ขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง เช่น มะม่วง ลำไย ลิ้นจี่
ส้มเขียวหวาน ส้มโอ กระท้อน กุหลาบ ละมุด เป็นต้น
1. เลือกกิ่งที่สมบูรณ์ไม่อ่อนแอและไม่แก่เกินไป ใบงาม ไม่มีโรค
หรือแมลงทำลาย ได้รับแสงแดดสม่ำเสมอ
2. ควั่นกิ่งระหว่างข้อ เพื่อตัดท่อลำเลียงอาหาร ทำให้อาหารเลี้ยงเฉพาะ
กิ่งที่ตอน และเกิดรากบริเวณรอยควั่น
3. ทาฮอร์โมนเร่งรากบริเวณรอยควั่น
4. หุ้มกิ่งตอนด้วยดินและวัสดุที่เก็บควรชุ่มชื้นได้ดี เช่น กาบมะพร้าว
ผ้ากระสอบ ป่าน รากผักตบชวา พันหรือหุ้มกิ่งให้แน่นพอสมควร อย่าให้หมุน
ไปมาได้ง่าย พยายามให้กลางกระเปาะวัสดุที่หุ้มอยู่ตรงบริเวณที่จะออกรากด้วย
5. รักษาความชุ่มชื้นอยู่เสมอ โดยการฉีกน้ำเข้าไปในกระเปาะที่หุ้ม
กระเปาะประมาณ 5-7 ครั้ง / วัน
6. ตัดกิ่งตอนปลูกในกระถาง เลี้ยงไว้จนกระทั่งเห็นว่ากิ่งตอนแข็งแรง
จึงนำไปปลูกในบริเวณที่กำหนด
พืชที่นิยมใช้ขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง เช่น มะม่วง ลำไย ลิ้นจี่
ส้มเขียวหวาน ส้มโอ กระท้อน กุหลาบ ละมุด เป็นต้น
การปักชำ เป็นการทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากหลังจากที่ตัดกิ่งหรือต้นออกจากต้นแม่แล้ว การปักชำมีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกกิ่งที่มีตาและใบ เพราะใบช่วยสร้างอาหารและฮอร์โมน ช่วยในการออกรากให้แก่กิ่งปักชำ
2. จัดวางกิ่งปักชำให้ถูกต้องตามหัวท้ายของกิ่งถ้าวางกลับทิศทางจะ
ทำให้ กิ่งไม่เกิดรากและไม่เกิดยอด
3. ทำแผลโคนกิ่ง เพื่อให้กิ่งมีเนื้อที่ที่จะเกิดรากได้มากขึ้น
4. ทาหรือนำกิ่งจุ่มฮอร์โมนและสารกระตุ้นบางอย่างช่วยในการเกิดราก
5. นำกิ่งไปปักชำในวัตถุที่เตรียมไว้
6. รักษาความชื้นและแสงสว่างที่วางกิ่งปักชำ
7. ดูแลรดน้ำให้ชุ่มจนกว่าจะเกิดราก
พืชที่นิยมใช้ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำ ได้แก่ พืชประเภทดอกไม้ประดับ
และผลไม้ เช่น อ้อย พลูด่าง โป๊ยเซียน มะนาว
1. เลือกกิ่งที่มีตาและใบ เพราะใบช่วยสร้างอาหารและฮอร์โมน ช่วยในการออกรากให้แก่กิ่งปักชำ
2. จัดวางกิ่งปักชำให้ถูกต้องตามหัวท้ายของกิ่งถ้าวางกลับทิศทางจะ
ทำให้ กิ่งไม่เกิดรากและไม่เกิดยอด
3. ทำแผลโคนกิ่ง เพื่อให้กิ่งมีเนื้อที่ที่จะเกิดรากได้มากขึ้น
4. ทาหรือนำกิ่งจุ่มฮอร์โมนและสารกระตุ้นบางอย่างช่วยในการเกิดราก
5. นำกิ่งไปปักชำในวัตถุที่เตรียมไว้
6. รักษาความชื้นและแสงสว่างที่วางกิ่งปักชำ
7. ดูแลรดน้ำให้ชุ่มจนกว่าจะเกิดราก
พืชที่นิยมใช้ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำ ได้แก่ พืชประเภทดอกไม้ประดับ
และผลไม้ เช่น อ้อย พลูด่าง โป๊ยเซียน มะนาว
นอกจากการตอนกิ่ง และการปักชำแล้ว ยังมีการขยายพันธุ์พืชโดยใช ้
การเชื่อมส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดกันและเจริญ
ต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนบนหรือ
ทำหน้าที่เป็นราก เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือ
ทำหน้าที่เป็นราก เรียกว่า ต้นตอ วิธีการนี้แบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ การติดตา
การต่อกิ่ง และการทาบกิ่ง พืชที่นิยมใช้ขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีนี้ ได้แก่ มะม่วง
ส้มเขียวหวาน กุหลาบ พุทธา ขนุน เป็นต้น
การเชื่อมส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อให้ส่วนของพืชนั้นๆ ติดกันและเจริญ
ต่อไปเหมือนกับเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน ส่วนของต้นพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนบนหรือ
ทำหน้าที่เป็นราก เรียกว่า กิ่งพันธุ์ดี และส่วนของพืชที่ต่ออยู่ทางส่วนล่างหรือ
ทำหน้าที่เป็นราก เรียกว่า ต้นตอ วิธีการนี้แบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ การติดตา
การต่อกิ่ง และการทาบกิ่ง พืชที่นิยมใช้ขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีนี้ ได้แก่ มะม่วง
ส้มเขียวหวาน กุหลาบ พุทธา ขนุน เป็นต้น
ปัจจุบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้ามาก นักวิทยาศาสตร์
ได้มีการนำเอาเทคโนโลยีชีวภาพเข้ามาช่วยในการขยายพันธุ์ และปรับปรุงพันธุ์พืช เพื่อเป็นการเพิ่มผลผลิตพืช และปรับปรุงคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตรให้ได้
คุณลักษณะตามที่มนุษย์ต้องการ
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) คือการนำเอาสิ่งที่มีชีวิตหรือ
ชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตได้แก่ พืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ มาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยใช้ความรู้หรือเทคนิควิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะกระบวนการทาง
ชีววิทยาศาสตร์เพื่อผลิตสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์
เทคโนโลยีชีวภาพแบ่งออกเป็น 2 แบบกว้าง ๆ คือ
1. เทคโนโลยีชีวภาพแบบดั้งเดิม เป็นเทคโนโลยีชีวภาพที่มนุษย์รู้จักกัน
มานานไม่ต้องใช้เทคนิควิธี การทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางชีววิทยา
ชั้นสูงมากนัก เช่น การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในกระบวนการทางชีววิทยา
ในการหมักดองอาหารและการผลิตปุ๋ยหมัก การใช้สิ่งมีชีวิตในการควบคุมกำจัด
ศัตรูพืช การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นต้น
2. เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ เป็นเทคโนโลยีชีวภาพที่ต้องใช้ความรู้ทาง
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคนิควิธีการทางชีววิทยาชั้นสูง เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการ
ตัดแต่งสารพันธุกรรมเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมเพื่อก่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่
ได้แก่ การโคลนนิ่ง การตัดต่อจีนในสิ่งมีชีวิต เป็นต้น
ได้มีการนำเอาเทคโนโลยีชีวภาพเข้ามาช่วยในการขยายพันธุ์ และปรับปรุงพันธุ์พืช เพื่อเป็นการเพิ่มผลผลิตพืช และปรับปรุงคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตรให้ได้
คุณลักษณะตามที่มนุษย์ต้องการ
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) คือการนำเอาสิ่งที่มีชีวิตหรือ
ชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตได้แก่ พืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ มาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยใช้ความรู้หรือเทคนิควิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะกระบวนการทาง
ชีววิทยาศาสตร์เพื่อผลิตสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์
เทคโนโลยีชีวภาพแบ่งออกเป็น 2 แบบกว้าง ๆ คือ
1. เทคโนโลยีชีวภาพแบบดั้งเดิม เป็นเทคโนโลยีชีวภาพที่มนุษย์รู้จักกัน
มานานไม่ต้องใช้เทคนิควิธี การทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางชีววิทยา
ชั้นสูงมากนัก เช่น การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในกระบวนการทางชีววิทยา
ในการหมักดองอาหารและการผลิตปุ๋ยหมัก การใช้สิ่งมีชีวิตในการควบคุมกำจัด
ศัตรูพืช การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นต้น
2. เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ เป็นเทคโนโลยีชีวภาพที่ต้องใช้ความรู้ทาง
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคนิควิธีการทางชีววิทยาชั้นสูง เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการ
ตัดแต่งสารพันธุกรรมเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมเพื่อก่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่
ได้แก่ การโคลนนิ่ง การตัดต่อจีนในสิ่งมีชีวิต เป็นต้น
สำหรับเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์พืชใน
ปัจจุบัน ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และ GMOs
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นเทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช เพื่อให้ได้จำนวน
มากในระยะเวลาอันสั้น โดยเป็นการเพาะเลี้ยงสิ่งมีชีวิตเฉพาะส่วนเท่านั้น ไม่ใช้่
พืชทั้งต้น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ทำโดยนำเอาเนื้อเยื่อของพืชในส่วนที่กำลัง
เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น ที่ปลายยอดอ่อน ตาข้าง ดอก ใบ เนื้อเยื่อ หรือ
ส่วนประกอบของพืชที่เป็นเนื้อเยื่อเจริญมา เพาะเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ที่อยู่ใน
สภาวะปลอดเชื้อ ซึ่งเป็นอาหารที่เนื้อเยื่อนั้นต้องการ พร้อมทั้งสารที่กระตุ้น โดย
จัดและควบคุมสภาพแวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่ปลอดเชื้อ มีอุณหภูมิ ความชื้น และ
แสงสว่าง ที่ต้องเอื้อต่อชิ้นส่วนของพืชจะเจริญเติบโตได้
การเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อนั้น ๆ ทำให้เซลล์ของพืชแบ่งตัวเพิ่มจำนวน
มากมายเป็นกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า แคลลัส (Callus) เราจึงสามารถบังคับให้
เนื้อเยื่อนี้เจริญเติบโตขึ้นเป็นต้นอ่อนได้เมื่อมีสภาวะที่ เหมาะสมและแบ่งเนื้อเยื่อ
เหล่านี้ ไปเลี้ยงในอาหารใหม่จนเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่จำนวนมากมายตามต้อง
การ วิธีนี้ใช้กันมากในการกระจายพันธุ์พืชบางชนิดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ
เช่น กล้วยไม้ หน้าวัว ต้นสัก หวาย กล้วย ข้าว เป็นต้น
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์ เพื่อให้พืชผลิตสาร
สำคัญบางชนิด เช่น ยารักษาโรค หรือเพื่อให้ได้พืชที่มีลักษณะพึงประสงค์ เช่น การใช้สารเคมีหรือรังสี ชักนำให้พืชที่เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไว้เกิดการกลายพันธุ์ ซึ่งอาจทำให้ได้ดอกหรือผลที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
การขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศ จะใช้ดอกเป็นอวัยวะปัจจุบัน ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และ GMOs
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นเทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช เพื่อให้ได้จำนวน
มากในระยะเวลาอันสั้น โดยเป็นการเพาะเลี้ยงสิ่งมีชีวิตเฉพาะส่วนเท่านั้น ไม่ใช้่
พืชทั้งต้น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ทำโดยนำเอาเนื้อเยื่อของพืชในส่วนที่กำลัง
เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น ที่ปลายยอดอ่อน ตาข้าง ดอก ใบ เนื้อเยื่อ หรือ
ส่วนประกอบของพืชที่เป็นเนื้อเยื่อเจริญมา เพาะเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ที่อยู่ใน
สภาวะปลอดเชื้อ ซึ่งเป็นอาหารที่เนื้อเยื่อนั้นต้องการ พร้อมทั้งสารที่กระตุ้น โดย
จัดและควบคุมสภาพแวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่ปลอดเชื้อ มีอุณหภูมิ ความชื้น และ
แสงสว่าง ที่ต้องเอื้อต่อชิ้นส่วนของพืชจะเจริญเติบโตได้
การเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อนั้น ๆ ทำให้เซลล์ของพืชแบ่งตัวเพิ่มจำนวน
มากมายเป็นกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า แคลลัส (Callus) เราจึงสามารถบังคับให้
เนื้อเยื่อนี้เจริญเติบโตขึ้นเป็นต้นอ่อนได้เมื่อมีสภาวะที่ เหมาะสมและแบ่งเนื้อเยื่อ
เหล่านี้ ไปเลี้ยงในอาหารใหม่จนเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่จำนวนมากมายตามต้อง
การ วิธีนี้ใช้กันมากในการกระจายพันธุ์พืชบางชนิดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ
เช่น กล้วยไม้ หน้าวัว ต้นสัก หวาย กล้วย ข้าว เป็นต้น
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์ เพื่อให้พืชผลิตสาร
สำคัญบางชนิด เช่น ยารักษาโรค หรือเพื่อให้ได้พืชที่มีลักษณะพึงประสงค์ เช่น การใช้สารเคมีหรือรังสี ชักนำให้พืชที่เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไว้เกิดการกลายพันธุ์ ซึ่งอาจทำให้ได้ดอกหรือผลที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
สืืบพันธุ์ กุ๊กไก่อยากให้เพื่อนๆ ศึกษาถึง
ส่วนประกอบของดอกไม้ ต่อไปนี้
ส่วนที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชแบบอาศัยเพศ
ดอกไม้ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ เรียงจากชั้นนอกเข้าสู่ชั้นในที่สำคัญๆ
4 ส่วนได้แก่
กลีบเลี้ยง (speal) ส่วนนี้จะอยู่นอกสุด โดยเปลี่ยนแปลงเจริญมาจากใบ มีขนาดเล็กมีสีเขียว ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ดอกไม้ขณะตูม
กลีบดอกไม้ (Petal) ส่วนนี้อยู่ถัดจากกลีบเลี้ยงเข้าไป มีขนาดใหญ่กว่า
กลีบเลี้ยง ซึ่งมีสีสันสวยงาม มีกลิ่นหอม ทำหน้าที่ล่อแมลงเพื่อช่วยผสมเกสร
เกสรตัวผู้ (Stamen) ส่วนนี้อยู่ถัดจากกลีบดอกเข้าไป ทำหน้าที่เป็น
เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ มักมีหลายอันรวมกัน มีส่วนประกอบที่สำคัญอยู่คือ
1. ก้านชูอับเรณู มีลักษณะแท่งยาวทรงกระบอก มีหน้าที่ชูอับละอองเรณู
2. อับเรณู เป็นเม็ดเล็กๆ อยู่บนก้านชูอับเรณู ภายในอับเรณูจะมีละออง
เรณูอยู่มากมาย มีลักษณะเป็นเม็ดเล็กๆ คล้ายผงสีเหลือง
3. ละอองเรณู อยู่ภายในอับเรณู ทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
เกสรตัวเมีย (Pistill) ส่วนนี้อยู่ชั้นในสุด ทำหน้าที่เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ
1. ยอดเกสรตัวเมีย ส่วนนี้จะมีขนเส้นเล็กๆ และมีน้ำหวานเหนียว ๆ สำหรับดักจับละอองเรณู รวมทั้งยังใช้เป็นอาหารสำหรับการงอกของหลอดละอองเรณู
2. ก้านเกสรตัวเมีย ส่วนนี้จะทำหน้าที่ชูยอดเกสรตัวเมียให้อยู่ในระดับสูงๆ
เพื่อประโยชน์ในการผสมพันธุ์ นอกจากนี้ยังเป็นทางให้ละอองเรณูแทงหลอดเรณู
ลงไปเพื่อให้เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้เข้าผสมกับเซลล์ไข่ได้
3. รังไข่ ส่วนนี้มีออวุล ซึ่งมีลักษณะเป็นเม็ดเล็ก ๆ บรรจุอยู่ภายใน
รังไข่หนึ่งอาจมี 1 ออวุล หรือหลายออวุล ก็ได้ ภายในออวุี่ลเป็นแหล่งสร้าง
เซลล์ไข่ซึ่งทำหน้าที่เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
แมลงมีบทบาทสำคัญมากในการถ่ายละอองเรณูของพืชดอก ขณะที่แมลง
ตอมดอกไม้เพื่อดูดกินน้ำหวานในดอกไม้ ละอองเรณูจะติดไปกับส่วนต่างๆของ
แมลง เช่น ปีก ขา และส่วนปาก เมื่อแมลงบินไปเกาะดอกไม้อื่น ๆ ก็จะนำ
ละอองเรณู ไปติดที่ยอดเกสรตัวเมียของดอกนั้น ทำให้เกิดการถ่ายละอองเรณู
การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ในปัจจุบันทำให้แมลงหลายชนิดทั้งที่เป็นประโยชน์
และเป็นโทษก็จะตายไป
ตอมดอกไม้เพื่อดูดกินน้ำหวานในดอกไม้ ละอองเรณูจะติดไปกับส่วนต่างๆของ
แมลง เช่น ปีก ขา และส่วนปาก เมื่อแมลงบินไปเกาะดอกไม้อื่น ๆ ก็จะนำ
ละอองเรณู ไปติดที่ยอดเกสรตัวเมียของดอกนั้น ทำให้เกิดการถ่ายละอองเรณู
การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ในปัจจุบันทำให้แมลงหลายชนิดทั้งที่เป็นประโยชน์
และเป็นโทษก็จะตายไป
เมื่อละอองเรณูตกลงบนยอดเกสรตัวเมียแล้วจะเกิดการงอกเป็นหลอด แทง ผ่านยอดและก้านเกสรเพศเมียจนกระทั่งถึงรังไข่ ดังในภาพ ภายในหลอดนี้จะมีี้ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ซึ่งจะเข้าไปผสมกับเซลล์ไข่ภายในออวุล เรียกกระบวนการ
นี้ว่า การปฏิสนธิ ต่อจากนั้นออวุลจะเจริญเป็น เมล็ด ซึ่งภายในจะมี ต้นอ่อน
หรือ เอ็มบริโอ และอาหารเลี้ยงเอ็มบริโอจะอยู่ภายในเมล็ด ส่วน รังไข่ จะ
เจริญเป็น ผล โดยทั่วไปแล้ว หลังจากการปฏิสนธิ ส่วนอื่นๆของดอกไม้ เช่น
กลีบดอก เกสรเพศผู้ ยอดเกสรเพศเมียจะเหี่ยวและหลุดร่วงไปในที่สุด
1. น้ำ เมื่อเมล็ดถูกน้ำ น้ำจะผ่านเปลือกนอกของเมล็ดเข้าไปทำให้
ต้นอ่อนเจริญเติบโต รากของเมล็ดจะแทงออกมาได้ง่าย จากนั้นเมล็ดจะเริ่ม
พองตัวและมีแรงดันภายในมากขึ้นนจนทำให้เปลือกเมล็ดแตกออก ต้นอ่อน
ก็จะเจริญออกมานอกเมล็ด
2. แก๊สออกซิเจน ขณะที่เมล็ดเริ่มงอกจะต้องการออกซิเจนใน
ปริมาณมากเพื่อนำไปใช้ในกระบวนการหายใจ และสร้างพลังงานมาใช้
ในการเจริญเติบโตของต้นอ่อน
3. อุณหภูมิที่เหมาะสม เมล็ดจะเจริญงอกงามได้ดีในที่ที่มีอุณหภูมิ
ประมาณ 20-30 องศาเซลเซียส ทั้งนี้เพราะอุณหภูมิที่เหมาะนี้จะช่วยทำให้
เอนไซม์ย่อยอาหารในเอนโดสเปริม์ได้อย่างเต็มที่
4. อาหาร แหล่งอาหารของเมล็ดที่งอกใหม่ๆ จะอยู่ที่เอนโดสเปิร์ม
หรือใบเลี้ยง
ข้อดีของการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
1. ให้ผลตรงตามพันธุ์ที่ต้องการ
2. ให้ผลเร็วกว่าการปลูกด้วยเมล็ด
3. ใช้ขยายพันธุ์ที่ปลูกด้วยเมล็ดแล้วไม่ขึ้น
ข้อเสียของการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
1. ต้นไม่แข็งแรงเพราะไม่มีรากแก้ว (ยกเว้นการต่อกิ่ง ติดตา และทาบกิ่ง)
2. วิธีการเก็บรักษาและย้ายพันธุ์ทำยากกว่า
3.สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการปลูกมากกว่า
1. ให้ผลตรงตามพันธุ์ที่ต้องการ
2. ให้ผลเร็วกว่าการปลูกด้วยเมล็ด
3. ใช้ขยายพันธุ์ที่ปลูกด้วยเมล็ดแล้วไม่ขึ้น
ข้อเสียของการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
1. ต้นไม่แข็งแรงเพราะไม่มีรากแก้ว (ยกเว้นการต่อกิ่ง ติดตา และทาบกิ่ง)
2. วิธีการเก็บรักษาและย้ายพันธุ์ทำยากกว่า
3.สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการปลูกมากกว่า
1.ความหมายของการทาบกิ่ง
การทาบกิ่งหมายถึงการนำต้นไม้ 2 ต้นที่ต่างก็มีรากของตนเองมาทาบกันโดยต่อเข้าด้วยกัน
และเมื่อแผลเชื่อมกันสนิทดีแล้วจึงตัดยอดของต้นตอ(stock) และตัดโคนของต้นพันธุ์ดี(scion) ออก ส่วนใหญ่การทาบกิ่งจะใช้ต้นตอที่เพาะจากเมล็ดใส่ถุงพลาสติกขึ้นไปทาบกิ่งของต้นพันธุ์ ดีที่ปลูกไว้ก่อนจนมีกิ่งก้านพอที่จะทาบได้จำนวนมาก การทาบกิ่งทำได้ทุกฤดู แต่แผลจะเชื่อมติด กันได้เร็วในฤดูที่ต้นไม้กำลังเติบโต(ฤดูฝน) หลังจากทาบกิ่งแล้วต้องใช้ผ้าพลาสติกพันแผลหรือ ใช้ขี้ผึ้งทาให้รอบแผล
และเมื่อแผลเชื่อมกันสนิทดีแล้วจึงตัดยอดของต้นตอ(stock) และตัดโคนของต้นพันธุ์ดี(scion) ออก ส่วนใหญ่การทาบกิ่งจะใช้ต้นตอที่เพาะจากเมล็ดใส่ถุงพลาสติกขึ้นไปทาบกิ่งของต้นพันธุ์ ดีที่ปลูกไว้ก่อนจนมีกิ่งก้านพอที่จะทาบได้จำนวนมาก การทาบกิ่งทำได้ทุกฤดู แต่แผลจะเชื่อมติด กันได้เร็วในฤดูที่ต้นไม้กำลังเติบโต(ฤดูฝน) หลังจากทาบกิ่งแล้วต้องใช้ผ้าพลาสติกพันแผลหรือ ใช้ขี้ผึ้งทาให้รอบแผล
การทาบกิ่ง คือ การนำต้นพืช 2 ต้น ซึ่งเป็นต้นชนิดเดียวกันและมีระบบรากมาเชื่อมต่อกิ่งกันโดยต้นตอที่นำมาทาบกิ่ง จะทำหน้าทีเป็นระบบรากอาหารให้กับต้นพันธุ์ดี เมื่อเกิดการประสานของตัวกิ่งทั้งสองแล้ว จึงตัดกิ่งพันธุ์ดีออก เหลือเป็นต้นตอของพันธุ์หนึ่ง และยอดพันธุ์ดีเป็นของอีกพันธุ์หนึ่งพืชที่นิยมขยายพันธุ์ด้วยการทาบกิ่งเช่น มะขาม มะม่วง ทุเรียน ขนุน เงาะ ลำไย
วิธีการตัดกิ่งทาบ
ให้ตัดกิ่งพันธุ์ดีตรงระดับก้นกระเปาะหรือตุ้มทาบ เพื่อสะดวกในการย้ายชำและช่วยทำให้รอยต่อของแผลไม่หักหรือฉีกเนื่องจากน้ำหนักของส่วนยอดพันธุ์ดี เพราะส่วนโคนกิ่งพันธุ์ดีที่ยาวเลยรอยแผลจะช่วยพยุงน้ำหนักของส่วนปลายยอดพันธุ์ดี
การชำกิ่งทาบ
เมื่อตัดกิ่งทาบจากต้นพันธุ์ดี ให้นำมาแกะเอาถุงพลาสติกออก แล้วชำลงในถุงพลาสติกสีดำขนาด 8x10 นิ้ว หรือกระถางดินเผาขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8 นิ้ว ที่บรรจุด้วย ขุยมะพร้าวล้วน ๆ หรือดินผสม ปักหลักและผูกเชือกกิ่งทาบให้แน่น นำเข้าพักไว้ในโรงเรือนที่ร่ม รดน้ำให้ชุ่ม ทิ้งไว้ประมาณ 15-20 วันหรือจนกิ่งพันธุ์ดีเริ่มแตกใบใหม่ จึงนำไปปลูกหรือจำหน่ายได้ สำหรับการชำกิ่งพันธุ์ดีที่ทิ้งใบง่าย เช่น ขนุน กระท้อน ควรพักไว้ในโรงเรือนที่มีความชื้นสูง เช่น กระโจม พลาสติก หรือโรงเรือนระบบพ่นหมอก จะช่วยลดปัญหาการทิ้งใบของพืชนั้นลงได้
การขยายพันธุ์พืช หมายถึง วิธีการที่ทำให้เกิดการเพิ่มปริมาณของต้นพืชให้มากขึ้น เพื่อดำรงสายพันธุ์ พืชชนิดต่าง ๆ ไว้ไม่ให้สูญพันธุ์ ซึ่งวิธีการที่นิยมปฏิบัติโดยทั่วไป ได้แก่
- การตอนกิ่ง
- การทาบกิ่ง
- การติดตา
- การเสียบยอด
- การตัดชำ
การตอนกิ่ง
การตอนกิ่ง คือ การทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มีลักษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ
การตอนกิ่ง คือ การทำให้กิ่งหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มีลักษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ
การทาบกิ่ง
การทาบกิ่ง คือ การนำต้นพืช 2 ต้นเป็นต้นเดียวกัน โดยส่วนของต้นตอที่นำมาทาบกิ่ง จะทำหน้าที่เป็นระบบรากอาหารให้กับต้นพันธุ์ดี โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ
การทาบกิ่ง คือ การนำต้นพืช 2 ต้นเป็นต้นเดียวกัน โดยส่วนของต้นตอที่นำมาทาบกิ่ง จะทำหน้าที่เป็นระบบรากอาหารให้กับต้นพันธุ์ดี โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ
การติดตา
การติดตา คือ การเชื่อมประสานส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อให้เจริญเป็นพืชต้น เดียวกัน โดยการนำแผ่นตาจากกิ่งพันธุ์ดี ไปติดบนต้นตอ การติดตาจะมีวิธีการทำ 2 วิธี คือ วิธีการติดตาแบบลอกเนื้อไม้ และแบบไม่ลอกเนื้อไม้ ซึ่งในทีนี้จะแนะนำเฉพาะขั้นตอน การติดตาแบบลอกเนื้อไม้
การติดตา คือ การเชื่อมประสานส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อให้เจริญเป็นพืชต้น เดียวกัน โดยการนำแผ่นตาจากกิ่งพันธุ์ดี ไปติดบนต้นตอ การติดตาจะมีวิธีการทำ 2 วิธี คือ วิธีการติดตาแบบลอกเนื้อไม้ และแบบไม่ลอกเนื้อไม้ ซึ่งในทีนี้จะแนะนำเฉพาะขั้นตอน การติดตาแบบลอกเนื้อไม้
การเสียบยอด
การเสียบยอด คือ การเชื่อมประสานเนื้อเยื่อของต้นพืช 2 ต้นเข้าด้วยกัน เพื่อให้เจริญเติบโต เป็นต้นเดียวกัน
การเสียบยอด คือ การเชื่อมประสานเนื้อเยื่อของต้นพืช 2 ต้นเข้าด้วยกัน เพื่อให้เจริญเติบโต เป็นต้นเดียวกัน
2.ประโยชน์ของการทาบกิ่ง
1.เป็นการขยายพันธุ์ของต้นพืชพันธุ์ดีให้มากขึ้น โดยทำให้เจริญเติบโตได้ดีบนต้นตอที่แข็งแรง
2. ทำให้ได้ต้นพืชพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตรวดเร็ว หลังจากทาบกิ่งและนำไปปลูกในเวลาไม่นาน
3. ทำให้ได้ต้นพันธุ์ดีที่แข็งแรงทนทานต่อการหักโค่นเนื่องจากลมเพราะมีรากแก้วของต้นตอ
ช่วยค้ำจุน
4. ทำให้พืชบางชนิดที่ขยายพันธุ์ได้ยาก สามารถดำรงพันธุ์ไว้ได้
3.การทาบกิ่งมีกี่ประเภท
วิธีการทาบกิ่ง แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
1. การทาบกิ่งแบบประกบ มี 3 แบบคือ
1.1 วิธีทาบกิ่งแบบฝานบวบ
1.2 วิธีการทาบกิ่งแบบเข้าลิ้น
1.3 วิธีทาบกิ่งแบบพาดร่อง
2. การทาบกิ่งแบบเสียบ มี 3 แบบคือ
2.1 การทาบกิ่งแบบฝานบวบแปลง
2.2 การทาบกิ่งแบบเข้าบ่าขัดหลัง
2.3 การทาบกิ่งแบบเสียบข้างแปลง
4.วิธีการทาบกิ่ง
1. เตรียมต้นตอได้จากการเพาะเมล็ด การชำ หรือการตอน โดยใช้วัสดุที่มีน้ำหนักเบา ต้นตอที่นำมาใช้ควรมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร หรือ เท่าแท่งดินสอ และ การเลือกกิ่งพันธุ์ ควรเป็นกิ่งที่ตั้งตรงหรือเอียงเล็กน้อย เป็นกิ่งที่สมบูรณ์ไม่เป็นโรคและแมลงรบกวน
2. เฉือนกิ่งพันธุ์ดีให้เป็นรูปโล่
3. เฉือนต้นตอเช่นเดียวกันกับกิ่งพันธุ์ดี
4. นำต้นตอประกบแผลบนกิ่งพันธุ์ดี
5. พันผ้าพลาสติกให้แน่น
6. ผูกเชือกหรือลวดยึดถุงต้นตอกับกิ่งพันธุ์ดีให้แน่น
7. เมื่อทาบกิ่งเสร็จแล้วทิ้งไว้ประมาณ 30-45 วัน เพื่อให้แผลติดสนิทและให้ตัดยอดต้นตอทิ้งไป
8. ควั่นกิ่งพันธุ์ดีใต้รอยต่อ หลังจากนั้นประมาณ 2 สัปดาห์ตัดลงจากต้นพันธุ์ดีได้
5.ข้อมูลเพิ่มเติม (อื่นๆ)
การทาบกิ่งแบบฝานบวบ
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาบกิ่ง
1. มีดบางหรือมีดที่ใช้สำหรับขยายพันธุ์
2. กรรไกรตัดแต่งกิ่ง
3. แผ่นพลาสติกขนาด ๐.๕ x ๑๒ นิ้ว หรือเทปพลาสติกสำเร็จรูปเป็นม้วน
4. ต้นตอหรือตุ้มทาบ
5. เชือกหรือลวด
ขั้นตอนการปฏิบัติมีดังนี้
1. เตรียมต้นตอได้จากการเพาะเมล็ด การชำ หรือการตอน โดยใช้วัสดุที่มีน้ำหนักเบา ต้นตอที่นำมาใช้ควรมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร หรือ เท่าแท่งดินสอ และ การเลือกกิ่งพันธุ์ ควรเป็นกิ่งที่ตั้งตรงหรือเอียงเล็กน้อย เป็นกิ่งที่สมบูรณ์ไม่เป็นโรคและแมลงรบกวน
2. เฉือนกิ่งพันธุ์ดีให้เป็นรูปโล่
3. เฉือนต้นตอเช่นเดียวกันกับกิ่งพันธุ์ดี
4. นำต้นตอประกบแผลบนกิ่งพันธุ์ดี
5. พันผ้าพลาสติกให้แน่น
6. ผูกเชือกหรือลวดยึดถุงต้นตอกับกิ่งพันธุ์ดีให้แน่น
7. เมื่อทาบกิ่งเสร็จแล้วทิ้งไว้ประมาณ 30-45 วัน เพื่อให้แผลติดสนิทและให้ตัดยอดต้นตอทิ้งไป
8. ควั่นกิ่งพันธุ์ดีใต้รอยต่อ หลังจากนั้นประมาณ 2 สัปดาห์ตัดลงจากต้นพันธุ์ดีได้
การปฏิบัติดูแลหลังจากทำการทาบแล้ว
1. ควรให้น้ำแก่ต้นแม่พันธุ์กิ่งพันธุ์ดีอย่างสม่ำเสมอ พร้อมกับสังเกตดูน้ำในตุ้มทาบที่ทาบแบบประกับซึ่งมักจะแห้งจึงต้องให้น้ำโดยการใช้หัวฉีดฉีดน้ำเข้าไปในถุงตุ้มทาบบ้างในบางครั้ง แต่สำหรับตุ้มทาบแบบเสียบมักจะไม่พบปัญหาตุ้มทาบแห้งเท่าใดนัก ยกเว้นทำการทาบในฤดูแล้ง
2. กรณีที่ส่วนยอดกิ่งพันธุ์ดีหลังจากทาบแล้วมีโรคและแมลงเข้าทำลาย ควรกำจัดโดยการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดโรค และแมลง
3. กรณีที่มีพายุหรือฝนตกหนักต้องหาไม้มาช่วยพยุงหรือค้ำกิ่งไว้เพื่อไม่ให้กิ่งพันธุ์ที่ทำการทาบหักได้
4. กรณีที่ทำการทาบหลายตุ้มในกิ่งเดียวกันควรต้องหาไม้ค้ำ หรือเชือกโยงไว้กับลำต้นเพื่อไม่ให้กิ่งใหญ่หักเสียหาย
ลักษณะของกิ่งทาบที่สามารถตัดไปชำได้
1. กิ่งทาบมีอายุประมาณ ๔๕-๖๐ วัน
2. สังเกตรอยแผลของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีว่าประสานกันดี เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและนูน
3. กระเปาะหรือตุ้มทาบีความชื้นพอประมาณณ (ค่อนข้างแห้ง)
4. กระเปาะหรือตุ้มทาบมีรากเจริญออกมาใหม่เห็นชัด รากเป็นสีน้ำตาลและปลายรากมีสีขาว
วิธีการตัดกิ่งทาบ
ให้ตัดกิ่งพันธุ์ดีตรงระดับก้นกระเปาะหรือตุ้มทาบ เพื่อสะดวกในการย้ายชำและช่วยทำให้รอยต่อของแผลไม่หักหรือฉีกเนื่องจากน้ำหนักของส่วนยอดพันธุ์ดี เพราะส่วนโคนกิ่งพันธุ์ดีที่ยาวเลยรอยแผลจะช่วยพยุงน้ำหนักของส่วนปลายยอดพันธุ์ดี
การชำกิ่งทาบ
เมื่อตัดกิ่งทาบจากต้นพันธุ์ดี ให้นำมาแกะเอาถุงพลาสติกออก แล้วชำลงในถุงพลาสติกสีดำขนาด 8x10 นิ้ว หรือกระถางดินเผาขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8 นิ้ว ที่บรรจุด้วย ขุยมะพร้าวล้วน ๆ หรือดินผสม ปักหลักและผูกเชือกกิ่งทาบให้แน่น นำเข้าพักไว้ในโรงเรือนที่ร่ม รดน้ำให้ชุ่ม ทิ้งไว้ประมาณ 15-20 วันหรือจนกิ่งพันธุ์ดีเริ่มแตกใบใหม่ จึงนำไปปลูกหรือจำหน่ายได้ สำหรับการชำกิ่งพันธุ์ดีที่ทิ้งใบง่าย เช่น ขนุน กระท้อน ควรพักไว้ในโรงเรือนที่มีความชื้นสูง เช่น กระโจม พลาสติก หรือโรงเรือนระบบพ่นหมอก จะช่วยลดปัญหาการทิ้งใบของพืชนั้นลงได้
การทาบกิ่ง
การทาบกิ่ง เป็นวิธีการติดตาต่อกิ่งเช่นเดียวกับการติดตาและการต่อกิ่ง คือ ต้นพืชที่ได้จากการทาบกิ่งจะมีส่วนยอดเป็นพันธุ์ดี และมีรากเป็นพันธุ์ต้นตอเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม การทาบกิ่งก็มีข้อแตกต่างไปจากการติดตาและการต่อกิ่งอยู่ 2 ประการ คือ
ก. การทาบกิ่ง เมื่อจะทาบจะต้องนำต้นตอเข้าไปหากิ่งพันธุ์ดี แทนที่จะนำกิ่งพันธุ์ดีเข้าไปหาต้นตอเหมือนการติดตาและการต่อกิ่ง
ข. การทาบกิ่ง ทั้งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดียังมีรากเลี้ยงต้นและเลี้ยงกิ่งอยู่ทั้งคู่ ส่วนการติดตา และการต่อกิ่งจะตัดกิ่งพันธุ์ดีจากต้นที่ต้องการมาติดหรือต่อ จึงต้องรักษากิ่งให้มีชีวิตอยู่ได้นานที่สุดจนกว่าจะเกิดการเชื่อมกับต้นตอได้ ฉะนั้นโอกาสการติดหรือต่อได้สำเร็จจึงมีโอกาสน้อยกว่าการทาบกิ่ง
วัตถุประสงค์ของการทาบกิ่ง พอจะแบ่งออกเป็น 2 ประการ คือ
1. การทาบกิ่งเพื่อการขยายพันธุ์
2. การทาบกิ่งเพื่อเปลี่ยนพันธุ์
สำหรับการทาบกิ่งเพื่อการขยายพันธุ์ มีวิธีการที่นิยมใช้อยู่ 2 แบบ คือ
1. การทาบกิ่งที่คงยอดต้นตอไว้ เป็นวิธีทาบกิ่งแบบประกับ (spliced-approach graft) ที่นิยมปฏิบัติกันดั้งเดิมทั่วๆ ไป การมียอดหรือมีใบของต้นตอไว้ก็เพื่อที่จะให้ใบได้สร้างอาหารไปเลี้ยงรอยต่อให้เกิดเร็วขึ้น และแม้การทาบจะไม่สัมฤทธิผลในครั้งแรก ก็ยังมีโอกาสที่จะทาบแก้ตัวได้ใหม่อีกโดยที่ต้นตอไม่ได้รับการกระทบกระเทือนมากนักการทาบกิ่งวิธีนี้ ข้อยุ่งยากอยู่ที่จะต้องคอยรดน้ำต้นตอขณะทาบอยู่เสมอๆ ฉะนั้นจึงไม่ใคร่นิยมทำกันในปัจจุบัน
ส่วนวิธีการทาบนั้น ปฏิบัติดังนี้
1. เลือกต้นตอ และกิ่งพันธุ์ดีให้บริเวณที่จะทาบกันมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางราว 1/2-1 ซม.
2. เฉือนต้นตอบริเวณที่จะทาบกันได้สนิทและกะให้ชิดโคนต้นตอโดยเฉือนให้ลึกเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อยและให้เป็นแผลยาวราว 5-8 ซม.
3. เฉือนกิ่งพันธุ์ดีในทำนองเดียวกันและให้มีความยาวเท่ากับแผลรอยเฉือนบนต้นตอ
4. มัดหรือพันต้นตอและยอดพันธุ์ดีเข้าด้วยกันให้แผลรอยเฉือนทับกัน โดยให้แนวเยื่อเจริญสัมผัสกันด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้าน
5. เมื่อแผลรอยเฉือนประสานกัน (ประมาณ 3-4 สัปดาห์) จึงบากเตือนทั้งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี
6. หลังจากบากเตือนได้ 1-2 สัปดาห์ ตัดโคนกิ่งพันธ์ดีออกจากต้นแม่
2. การทาบกิ่งแบบตัดยอดต้นตอออก การทาบกิ่งวิธีนี้ เป็นวิธีที่เปลี่ยนแปลงมาจากการทาบกิ่งแบบมียอดต้นตอ โดยการปาดยอดต้นตอออกเพื่อป้องกันการคายน้ำจากต้น พร้อมกันนั้นก็จะมัดปากถุงปลูกของต้นตอ มิให้น้ำหรือความชื้นจากเครื่องปลูกระเหยออกข้างนอกได้ การทาบกิ่งวิธีนี้สะดวกที่ไม่ต้องรดน้ำให้ต้นตอจนกว่าจะตัดกิ่งที่ติดเรียบร้อยแล้วมาปลูก ฉะนั้นจึงสามารถทำได้ตลอดปี และถ้าใช้เครื่องปลูกต้นตอที่มีน้ำหนักเบาๆ แล้วจะสามารถผูกต้นตอติดกับกิ่งพันธุ์ดีได้ โดยไม่ต้องใช้ไม้พยุงหรือผูกค้ำต้นตอ
วิธีการทำการทาบกิ่ง แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
1. การทาบกิ่งแบบประกับ (Approach grafting)การทาบกิ่งแบบนี้ทั้งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีต่างก็ยังมีรากและยอดอยู่ทั้งคู่ มักใช้ในการทาบกิ่งไม้ผลที่รอยแผลประสานกัน ช้า เช่น การทาบกิ่งมะขาม เป็นต้น สำหรับวิธีการทาบมี 3 วิธีดังนี้
1.1 วิธีทาบกิ่งแบบฝานบวบ (Spliced approach grafting)
1. เลือกต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี ให้บริเวณที่จะทาบมีขนาดพอ ๆ กันและมีลักษณะเรียบตรง
1. เฉือนกิ่งพันธุ์ดีเข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย รอยแผลยาวประมาณ 1-2 นิ้ว ลักษณะแผลรอยเฉือนคล้ายรูปโล่
2. เตือนต้นตอในทำนองเดียวกัน และให้มีความยาวเท่ากับแผลบนกิ่งพันธุ์ดี
3. มัดต้นตอและยอดพันธุ์ดีเข้าด้วยกันโดยจัดแนวเยื่อเจริญให้สัมผัสกันมากที่สุด
4. พันรอบรอยด้วยพลาสติกให้แน่น
1.4 วิธีการทาบกิ่งแบบเข้าลิ้น (Tongued approach grafting) เป็นวิธีที่คล้ายวิธีแรก แต่ต่างกันตรงที่รอยแผลของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีจะทำเป็นลิ้น เพื่อให้สามารถสอดเข้าหากันได้
1. เลือกต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี ให้บริเวณที่จะทาบมีขนาดพอ ๆ กัน
2. เฉือนต้นตอให้มีแผลเป็นรูปโล่ยาวประมาณ 1-2 นิ้ว พยายามเฉือนให้เรียบอย่าให้เป็นคลื่น
3. จาก 1/3 ของปลายรอยแผลที่เฉือนนี้ เฉือนให้เป็นลิ้นลงมาเสมอกับโคนรอยแผลด้านล่าง
4. เฉือนกิ่งพันธุ์ดีในลักษณะเดียวกัน แต่ให้ลิ้นที่เฉือนกลับลงในลักษณะตรงกันกับลิ้นของต้นตอ
5. สวมลิ้นของต้นตอและกิ่งพันธุ์ดีเข้าด้วยกัน โดยจัดให้แนวเยื่อเจริญสัมผัสกัน
6. พันรอบรอยแผลด้วยพลาสติกให้แน่น
1.3 วิธีทาบกิ่งแบบพาดร่อง (Inlay approach grafting) การทาบกิ่งวิธีนี้มักใช้เพื่อการเปลี่ยนยอด หรือการเสริมรากให้ต้นไม้ที่มีระบบรากไม่แข็งแรง หรือ ระบบรากถูกทำลาย วิธีทางกิ่งปฏิบัติได้ดังนี้
1. กรีดเปลือกต้นตอตรงบริเวณที่จะทำการทาบ ให้มีความยาวประมาณ ๒-๓ นิ้ว โดยกรีดเป็นสองรอยให้ขนานกัน และให้รอยกรีห่างกันเท่ากับเส้นผ่า ศูนย์กลางของกิ่งพันธุ์ดี
2. กรีดเปลือกตามขวางตรงหัวและท้ายรอยกรีดที่ขนานกัน แล้วแกะเอาเปลือกออก
3. เฉือนกิ่งพันธุ์ดีให้เข้าไปในเนื้อไม้เป็นรูปโล่ และให้ยาวเท่ากับความยาวของแผลที่เตรียมบนต้นตอ
4. ทาบกิ่งพันธุ์ดีตรงบริเวณที่เฉือนนั้นให้เข้าในแผลบนต้นตอ
5. ใช้ตะปูเข็มขนาดเล็กตอกกิ่งพันธุ์ดีติดกับต้นตอ แล้วพันด้วยพลาสติกให้แน่น
6. เมื่อกิ่งพันธุ์ดีและต้นตอติดกันดีแล้ว จึงทำการตัดต้นตอเหนือรอยต่อและตัดกิ่งพันธุ์ดีใต้รอยต่อกรณีต้องการเปลี่ยนเป็นยอดพันธุ์ดี
2. การทาบกิ่งแบบเสียบ (Modified approach grafting) เป็นวิธีทาบกิ่งที่แปลงมาจากวิธีการทาบกิ่งแบบประกับ โดยจะทำการตัดยอดต้นตอออกให้เหลือสั้นประมาณ 3-5 นิ้ว เพื่อลดการคายน้ำ สำหรับวิธีทาบแบบเสียบที่นิยมปฏิบัติกันมี 3 วิธีคือ
2.1 การทาบกิ่งแบบฝานบวบแปลง (Modified spliced approach grafting) เป็นวิธีที่นิยมใช้กันมากเพราะสามารถทำได้รวดเร็ว และใช้กับพืชได้ทั่ว ๆ ไป พืชที่นิยมใช้วิธีทาบแบบนี้ ได้แก่ มะม่วง มะขาม ขนุน ทุเรียน เป็นต้น โดยมีวิธีปฏิบัติดังนี้
1. นำต้นตอขึ้นไปทาบโดยกะดูบริเวณที่จะทำแผลทั้งต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี
1. เฉือนกิ่งพันธุ์ดีเป็นรูปโล่เข้าเนื้อไม้เล็กน้อย และให้แผลยาวประมาณ 1.5/4 นิ้ว
2. เฉือนต้นตอเฉียงขึ้นเป็นปากฉลามให้แผลยาวเท่ากับแผลที่เตรียมบนกิ่งพันธุ์ดี
3. นำต้นตอประกบกับกิ่งพันธุ์ดี โดยให้แนวเยื่อเจริญทับกันด้านในด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้าน
4. พันรอบรอยแผลด้วยพลาสติกให้แน่นและมัดต้นตอเข้ากับกิ่งพันธุ์ดี
2.2 การทาบกิ่งแบบเข้าบ่าขัดหลัง (Modified veneer side approach grafting) วิธีการทาบกิ่งแบบนี้คล้ายกับวิธีฝานบวบแปลง แต่แตกต่างกันตรงรอยแผลของกิ่งพันธุ์ดีจะเฉือนทำเป็นบ่าหรือเงี่ยงปลา ส่วนของต้นตอจะเฉือนด้านหลังของรอยแผลปากฉลามออกเล็กน้อย พืชที่นิยมใช้เช่นเดียวกับแบบฝานบวบแปลง โดยมีวิธีปฏิบัติดังนี้
1. เฉือนกิ่งพันธุ์ดีเอียงขึ้นเข้าเนื้อไม้ประมาณ 1/4 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของกิ่งความยาวแผลประมาณ 1.5-2นิ้ว เฉือนแผลด้านบนทำเป็นบ่าหรือเงี่ยง ปลาประมาณ 1/4 ของความยาวของแผล
2. เฉือนต้นตอเป็นรูปปากฉลามตัดด้านหลังเอียงขึ้นเข้าหาปากฉลามขนาดความยาวแผลประมาณ ๑/๔ ของแผลปากฉลาม
3. นำต้นตอที่ปาดเรียบร้อยแล้วสอดเข้าไปขัดกับบ่าหรือเงี่ยงปลาที่ทำไว้ แล้วจัดให้แนวเยื่อเจริญสัมผัสกันมากที่สุด
4. พันด้วยพลาสติกให้แน่น
2.3 การทาบกิ่งแบบเสียบข้างแปลง (Modified side approach grafting) วิธีการทาบแบบนี้มีขั้นตอนต่าง ๆ เหมือนวิธีแรก แต่แตกต่างกันที่ลักษณะเฉือนต้นตอและกิ่งพันธุ์ดี โดยมีวิธีปฏิบัติ ดังนี้
1. เฉือนกิ่งพันธุ์ดีเป็นมุมเอียงขึ้นประมาณ 20-30 องศา เข้าไปในเนื้อไม้ประมาณ 1/4 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของกิ่ง ความยาวแผลประมาณ 1.5-2 นิ้ว
2. เฉือนต้นตอเป็นรูปลิ่มโดยให้แผลส่วนที่สัมผัสด้านในกว่าแผลหน้าที่สัมผัสด้านนอก
3. สอดต้นตอเข้าไปในเนื้อไม้แบบตอกลิ่ม โดยให้แนวเยื่อเจริญสัมผัสกันมากที่สุด
4. พันด้วยพลาสติกให้แน่น
การทาบกิ่ง
การทาบกิ่ง คือ การนำต้นพืช 2 ต้นเป็นต้นเดียวกัน โดยส่วนของต้นตอที่นำมาทาบกิ่ง จะทำหน้าที่เป็นระบบรากอาหารให้กับต้นพันธุ์ดี โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้
1 เลือกกิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อนที่สมบูรณ์เพศปราศจากโรคและแมลง
2. เฉือนกิ่งพันธุ์ดีให้เป็นรูปโล่ยาวประมาณ 1 - 2 นิ้ว
3. เฉือนต้นตอเป็นรูปปากฉลาม
4. ประกบแผลต้นตอเข้ากับกิ่งพันธุ์ดี พันพลาสติกให้แน่น แล้วมัดต้นตอ กับกิ่งพันธุ์ด้วยเชือกหรือลวด
5. ประมาณ 6 - 7 สัปดาห์ แผลจะติดกันดี รากตุ้มต้นตอจะงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มมีสีน้ำตาล ปลายรากมีสีขาว และมีจำนวนมากพอ จึงจะตัดได้
6. นำลงถุงเพาะชำ พร้อมปักหลังค้ำยัน ต้นเพื่อป้องกันต้นล้ม
2. เฉือนกิ่งพันธุ์ดีให้เป็นรูปโล่ยาวประมาณ 1 - 2 นิ้ว
3. เฉือนต้นตอเป็นรูปปากฉลาม
4. ประกบแผลต้นตอเข้ากับกิ่งพันธุ์ดี พันพลาสติกให้แน่น แล้วมัดต้นตอ กับกิ่งพันธุ์ด้วยเชือกหรือลวด
5. ประมาณ 6 - 7 สัปดาห์ แผลจะติดกันดี รากตุ้มต้นตอจะงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มมีสีน้ำตาล ปลายรากมีสีขาว และมีจำนวนมากพอ จึงจะตัดได้
6. นำลงถุงเพาะชำ พร้อมปักหลังค้ำยัน ต้นเพื่อป้องกันต้นล้ม
การติดตา
การติดตา คือ การเชื่อมประสานส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพื่อให้เจริญเป็นพืชต้น เดียวกัน โดยการนำแผ่นตาจากกิ่งพันธุ์ดี ไปติดบนต้นตอ การติดตาจะมีวิธีการทำ 2 วิธี คือ วิธีการติดตาแบบลอกเนื้อไม้ และแบบไม่ลอกเนื้อไม้ ซึ่งในทีนี้จะแนะนำเฉพาะขั้นตอน การติดตาแบบลอกเนื้อไม้ ดังนี้
1. เลือกต้นตอในส่วนที่เป็นสีเขียวปนน้ำตาล แล้วกรีดต้นตอจากบนลงล่าง 2 รอย ห่างกันประมาณ 1 ใน 3 ของเส้นรอบวงของต้นตอ ความยาวประมาณ 6 - 7 เซนติเมตร
2. ตัดขวางรอยกรีดด้านบน แล้วลอกเปลือกออกจากด้านบนลงด้านล่าง ตัดเปลือก ที่ลอกออกให้เหลือด้านล่างยาวประมาณ 1 เซนติเมตร
3. เฉือนแผ่นตายาวประมาณ 7 - 10 เซนติเมตร ลอกเนื้อไม้ออกแล้วตัดแผ่นตา ด้านล่างทิ้ง
4. สอดแผ่นตาลงไปในเปลือกต้นตอ โดยให้ตาตั้งขึ้น แล้วพันด้วยพลาสติกให้แน่น
5. ประมาณ 7 - 10 วัน จึงเปิดพลาสติกออก แล้วพันใหม่ โดยเว้นช่องให้ตาโผล่ ออกมา ทิ้งไว้ประมาณ 2 - 3 สัปดาห์ จึงตัดยอดต้นเดิมแล้วกรีดพลาสติกออก
การเสียบยอด
การเสียบยอด คือ การเชื่อมประสานเนื้อเยื่อของต้นพืช 2 ต้นเข้าด้วยกัน เพื่อให้เจริญเติบโต เป็นต้นเดียวกัน โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้
1. ตัดยอดต้นตอให้สูงจากพื้นดินประมาณ 10 เซนติเมตร แล้วผ่ากลางลำต้นของ ต้นตอให้ลึกประมาณ
3 - 4 เซนติเมตร
2. เฉือนยอดพันธุ์ดีเป็นรูปลิ่มยาวประมาณ 3 - 4 เซนติเมตร
3. เสียบยอดพันธุ์ดีลงในแผลของต้นตอ ให้รอยแผลตรงกัน แล้วใช้เชือกมัดด้านบน และล่างรอยแผลต้นตอให้แน่น
4. คลุมต้นที่เสียบยอดแล้วด้วยถุงพลาสติก หรือนำไปเก็บไว้ในโรงอบพลาสติก
5. ประมาณ 5 - 7 สัปดาห์ รอยแผลจะประสานกันดี และนำออกมาพักไว้ในโรง เรือนเพื่อรอการปลูกต่อไปการตัดชำ
การตัดชำ คือ การนำส่วนต่าง ๆ ของพืชพันธุ์ดี เช่น ใบ และ ราก มาตัดและปักชำในวัสดุเพาะชำ เพื่อให้ได้พืชต้นใหม่จากสวนที่นำมาตัดชำ แต่ในที่นี้จะขอแนะนำขั้นตอนการตัดชำกิ่งซึ่ง มีขั้นตอน ดังนี้
2. เฉือนยอดพันธุ์ดีเป็นรูปลิ่มยาวประมาณ 3 - 4 เซนติเมตร
3. เสียบยอดพันธุ์ดีลงในแผลของต้นตอ ให้รอยแผลตรงกัน แล้วใช้เชือกมัดด้านบน และล่างรอยแผลต้นตอให้แน่น
4. คลุมต้นที่เสียบยอดแล้วด้วยถุงพลาสติก หรือนำไปเก็บไว้ในโรงอบพลาสติก
5. ประมาณ 5 - 7 สัปดาห์ รอยแผลจะประสานกันดี และนำออกมาพักไว้ในโรง เรือนเพื่อรอการปลูกต่อไปการตัดชำ
การตัดชำ คือ การนำส่วนต่าง ๆ ของพืชพันธุ์ดี เช่น ใบ และ ราก มาตัดและปักชำในวัสดุเพาะชำ เพื่อให้ได้พืชต้นใหม่จากสวนที่นำมาตัดชำ แต่ในที่นี้จะขอแนะนำขั้นตอนการตัดชำกิ่งซึ่ง มีขั้นตอน ดังนี้
1. ตัดโคนกิ่งให้ชิดข้อยาวประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร โดยตัดเฉียงเป็นรูปปากฉลาม และตัดปลายบนให้เหนือตาประมาณ 1 เซนติเมตร
2. ใช้มีดปลายแหลมกรีดบริเวณรอบโคนยาว 1 - 1.5 เซนติเมตร ประมาณ 2 - 3 รอย
3. ปักกิ่งชำลงในวัสดุเพาะชำ ลึกประมาณ 2.5 - 5 เซนติเมตร
4. นำเข้าโรงอบพลาสติก หรือถุงพลาสติกขนาดใหญ่
5. ประมาณ 25 - 30 วัน กิ่งตัดชำจะแตกยอกอ่อน พร้อมออกราก เมื่อมีจำนวนมากพอ จึงย้ายปลูกต่อไ
2. ใช้มีดปลายแหลมกรีดบริเวณรอบโคนยาว 1 - 1.5 เซนติเมตร ประมาณ 2 - 3 รอย
3. ปักกิ่งชำลงในวัสดุเพาะชำ ลึกประมาณ 2.5 - 5 เซนติเมตร
4. นำเข้าโรงอบพลาสติก หรือถุงพลาสติกขนาดใหญ่
5. ประมาณ 25 - 30 วัน กิ่งตัดชำจะแตกยอกอ่อน พร้อมออกราก เมื่อมีจำนวนมากพอ จึงย้ายปลูกต่อไ
บทที่ 3
วิธีกาดำเนินการศึกษาค้นคว้า
ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง การขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ ผู้ดำเนินการศึกษาค้นคว้าได้มีวิธีการดังขั้นตอนต่อไปนี้
1. กำหนดขอบเขตในการศึกษาค้นคว้า ผู้ดำเนินการศึกษาได้กำหนดขอบเขตในการศึกษาค้นคว้าดังนี้
1.1 ขอบเขตการศึกษา ได้แก่
1. เพื่อศึกษาที่มาของการทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสัง
2. เพื่อศึกษาประวัติของการทาบกิ่งมะนาว
3. เพื่อศึกษาการทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสังได้จริงหรือไม่
4. เพื่อศึกษาประโยชน์ของการทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสัง
1.2 ขอบเขตด้านประชากรได้แก่
นักเรียนชั้นมะยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 5 จำนวน 34 คน
1.3 ขอบเขตด้านระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
2. วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้เรื่อง การขยายพันธุ์พืช เป็นแผ่นพับเพื่อเผยแพร่ให้กับผู้ที่สนใจได้ศึกษา
3. นำรายงานไปวิเคราะห์สังเคราะห์ไว้ไปให้คุณครูประจำวิชาตรวจสอบความถูกต้องก่อนการเผยแพร่
4. ออกแบบสำรวจความคิดเห็นเรื่อง การทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสังโดยออกแบบประเมินค่า เห็นด้วย หรือ ไม่เห็นด้วย กับการทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสังจะสามารถทำได้จริงหรือไม่ แล้วนำแบบสำรวจไปให้คุณครูประจำวิชาตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหาและโครงสร้าง หลักจากนั่นนำเอาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไขมาแล้วพิมพ์เป็นฉบับจริง
5.สรุปผลการตรวจความคิดเห็นโดยรวมคือไม่สามารถสรุปได้ว่าระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมตะวันตกได้เพราะมันขึ้นกับทัศนะวิสัยของแต่ละบุคคล
บทที่ 4
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
ในการศึกษาเรื่อง การขยายพันธุ์พืช ผู้นำเสนอการศึกษาค้นคว้าได้กำหนดวัตถุประสงค์และสมมุติฐานไว้ดังนี้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาที่มาของการทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสัง
2. เพื่อศึกษาประวัติของการทาบกิ่งมะนาว
3. เพื่อศึกษาการทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสังได้จริงหรือไม่
4. เพื่อศึกษาประโยชน์ของการทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสัง
สมมุติฐาน
ศึกษาการทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสังได้จริงหรือไม่
สรุปผลการศึกษาได้ดังนี้
การทาบกิ่ง
การทาบกิ่งหมายถึงการนำต้นไม้ 2 ต้นที่ต่างก็มีรากของตนเองมาทาบกันโดยต่อเข้าด้วยกันและเมื่อแผลเชื่อมกันสนิทดีแล้วจึงตัดยอดของต้นตอ(stock) และตัดโคนของต้นพันธุ์ดี(scion) ออก ส่วนใหญ่การทาบกิ่งจะใช้ต้นตอที่เพาะจากเมล็ดใส่ถุงพลาสติกขึ้นไปทาบกิ่งของต้นพันธุ์ ดีที่ปลูกไว้ก่อนจนมีกิ่งก้านพอที่จะทาบได้จำนวนมาก การทาบกิ่งทำได้ทุกฤดู แต่แผลจะเชื่อมติด กันได้เร็วในฤดูที่ต้นไม้กำลังเติบโต(ฤดูฝน) หลังจากทาบกิ่งแล้วต้องใช้ผ้าพลาสติกพันแผลหรือ ใช้ขี้ผึ้งทาให้รอบแผล แนวคิดแบบตะวันตก
เมื่อมีการพัฒนาด้านการศึกษา และการพิมพ์ วรรณกรรมตะวันตก ทั้งที่เป็นแนววิชาการ และบันเทิง จึงได้แพร่หลายเข้ามาสู่สังคมไทย และมีอิทธิพลต่อการสร้างแนวคิด และสำนึกของไทย เช่น แนวคิดเกี่ยวกับการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย การเข้าใจถึงคุณค่าของมนุษย์ และความทัดเทียมกัน แนวคิดต่างๆ เหล่านี้ ได้สะท้อนออกมาในรูปของวรรณกรรม ที่ตีพิมพ์ในภาษาไทย
ประโยชน์ของการทาบกิ่ง
1.เป็นการขยายพันธุ์ของต้นพืชพันธุ์ดีให้มากขึ้น โดยทำให้เจริญเติบโตได้ดีบนต้นตอที่แข็งแรง
2. ทำให้ได้ต้นพืชพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตรวดเร็ว หลังจากทาบกิ่งและนำไปปลูกในเวลาไม่นาน
3. ทำให้ได้ต้นพันธุ์ดีที่แข็งแรงทนทานต่อการหักโค่นเนื่องจากลมเพราะมีรากแก้วของต้นตอ
ช่วยค้ำจุน
4. ทำให้พืชบางชนิดที่ขยายพันธุ์ได้ยาก สามารถดำรงพันธุ์ไว้ได้
สรุป การทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสังมีความเป็นไปได้สูงที่สามารถประสบผลสำเร็จ
บทที่ 5
อภิปรายและขอเสนอแนะ
จากการศึกษาค้นคว้า เรื่อง การขยายพันธุ์พืช ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่ากิ่งมะนาวจะมีการเจริญเติบโตที่ช้าเพราะการทาบกิ่งมะนาวมีน้ำเลี้ยงที่บริเวณลำต้นน้อยมากต้องใช้ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้าเป็นเวลานาน และพบว่าระยะเวลาที่ลำต้นของต้นกะสังจะมีการพัฒนาเจริญเติบโตเร็วในระยะเวลา 6 เดือนขึ้นไปถึงจะเห็นผล
ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป
1. ควรมีการเผยแพร่ความรู้เรื่อง การขยายพันธุ์พืชแบบไมอาศัยเพศ ให้ทุกคนรู้เพราะการทาบกิ่งกะสังช่วยในการปลูกแบบประหยัดพื้นที่
2. ควรใช้รู้แบบที่หลากหลายในการเผยแพร่ เช่น การสร้างเว็บเพจเรื่อง การทาบกิ่งมะนาวบนต้นกะสัง ในอินเทอร์เน็ต และการจัดนิทรรศการในโรงเรียน
3. รณรงค์ให้ผู้คนหันมาสนใจใน การทาบกิ่งของพืช และอนุรักษ์ไว้ให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป
ภาคผนวก
วางแผน เริ่มปฎิบัติงาน
สอบถามถามผู้รู้ เกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา
การเลือกกิ่งพันธุ์
การตอนพันธุ์พืช
การปักชำ
การตอนกิ่ง
การติดตา
งานเสร็จทุกอย่าง ขอบคุณผู้รู้